แร่ทองแดง
แร่ทองแดงพบที่ จ.เลย หนองคาย ขอนแก่น นครราชสีมา ตาก อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน ลำปาง
ลำพูน เพชรบูรณ์ ลพบุรี ฉะเชิงเทรา และกาญจนบุรี แต่ยังไม่มีการผลิต แร่ทองแดงส่วนใหญ่มีทองแดง
เป็นส่วนประกอบปริมาณไม่มาก แร่ทองแดงที่สำคัญคือ แร่คาลโคโพไรต์ ( CuFeS2 ) ซึ่ง
มี FeS และ CuS ปนกันอยู่
ส่วนใหญ่มีทองแดงเป็นส่วนประกอบปริมาณไม่มาก และยังไม่มีการผลิต แร่ทองแดงที่สำคัญคือ แร่คาลโคโพไรต์ (CuFeS2)
ทองแดงเป็นโลหะที่มีความสำคัญและใช้มากในอุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ตู้เย็นและเครื่องปรับอากาศ อุปกรณ์เกี่ยวกับรถยนต์ อาวุธ เปรียญกษาปณ์
ฯลฯ และยังเป็นส่วนปรกอบสำคัญในโลหะผสมหลายชนิด เช่น ทองเหลือง โลหะผสมทองแดง นิกเกิล
และสังกะสี (เรียกว่าเงินนิกเกิลหรือเงินเยอรมัน) ใช้ทำเครื่องใช้ เช่น ส้อม มีด เครื่องมือแพทย์ นอกจาก
นี้ แร่ทองแดงที่มีลวดลายสวยงาม เช่น มาลาไคต์ อะซูไรต์ และคริโซคอลลา สามารถนำมาทำเครื่อง
ประดับได้อีกด้วย
CuFeS2
CuFeS2
การถลุงแร่ทองแดง
การถลุงทองแดงจากแร่นี้ ขั้นแรกคือ แยกแร่ที่ต้องการออกจากสิ่งเจือปน อาจใช้วิธีการลอยตัว เป็นต้น จากนั้นนำแร่มาเผาในอากาศ หรือที่เรียกว่า “การย่างแร่” ไอร์ออน (II) ซัลไฟต์บางส่วนจะถูกออกซิไดส์ เป็นไอร์ออน (II) ออกไซด์ ดังสมการ
2CuFeS2(s) + 3O2(g) -----> 2CuS(s) + 2FeO(s) + 2SO2(g)
แล้วนำผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปเผารวมกับออกไซด์ของซิลิกอนในเตาถลุงอุณหภูมิประมาณ 1100 องศาเซลเซียส เพื่อกำจัดไอร์ออน (II) ออกไซด์ออก ดังสมการ
FeO(s) + SiO2 (s) → FeSiO3(l)
ส่วนคอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์ เมื่ออยู่ในอุณหภูมิสูงจะสลายตัวได้เป็นคอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ ในสถานะของเหลวซึ่งสามารถแยกออกได้ และในขั้นสุดท้ายเมื่อแยกคอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ในอากาศ บางส่วนจะเปลี่ยนเป็นคอปเปอร์ (I) ออกไซด์ ดังสมการ
2Cu2S (s ) + 3O2(g) → 2Cu2O(s) + SO2(g)
และคอปเปอร์ (I) ออกไซด์กับคอปเปอร์ (I)ซัลไฟด์จะทำปฏิกิริยากันโดยมีซัลไฟด์ไอออนเป็นตัวรีดิวซ์ ดังสมการ
2Cu2O(s) + Cu2S (s ) → 6Cu(l) + SO2(g)
แต่ยังมีสิ่งเจือปนจึงต้องนำไปทำให้บริสุทธิ์ก่อน โดยทั่วไปจะใช้วิธีแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้า
แผนผังสรุุปขั้นตอนและสารเคมีที่เกี่ยวข้องในการถลุงแร่ทองแดงจากแร่คาลไพไรต์(CuFeS2
การถลุงแร่
แร่ทองแดงพบที่ จ.เลย หนองคาย ขอนแก่น นครราชสีมา ตาก อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน ลำปาง
ลำพูน เพชรบูรณ์ ลพบุรี ฉะเชิงเทรา และกาญจนบุรี แต่ยังไม่มีการผลิต แร่ทองแดงส่วนใหญ่มีทองแดง
เป็นส่วนประกอบปริมาณไม่มาก แร่ทองแดงที่สำคัญคือ แร่คาลโคโพไรต์ ( CuFeS2 ) ซึ่ง
มี FeS และ CuS ปนกันอยู่
ทองแดงเป็นโลหะที่มีความสำคัญและใช้มากในอุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ตู้เย็นและเครื่องปรับอากาศ อุปกรณ์เกี่ยวกับรถยนต์ อาวุธ เปรียญกษาปณ์
ฯลฯ และยังเป็นส่วนปรกอบสำคัญในโลหะผสมหลายชนิด เช่น ทองเหลือง โลหะผสมทองแดง นิกเกิล
และสังกะสี (เรียกว่าเงินนิกเกิลหรือเงินเยอรมัน) ใช้ทำเครื่องใช้ เช่น ส้อม มีด เครื่องมือแพทย์ นอกจาก
นี้ แร่ทองแดงที่มีลวดลายสวยงาม เช่น มาลาไคต์ อะซูไรต์ และคริโซคอลลา สามารถนำมาทำเครื่อง
ประดับได้อีกด้วย
CuFeS2 |
CuFeS2 |
การถลุงแร่ทองแดง
การถลุงทองแดงจากแร่นี้ ขั้นแรกคือ แยกแร่ที่ต้องการออกจากสิ่งเจือปน อาจใช้วิธีการลอยตัว เป็นต้น จากนั้นนำแร่มาเผาในอากาศ หรือที่เรียกว่า “การย่างแร่” ไอร์ออน (II) ซัลไฟต์บางส่วนจะถูกออกซิไดส์ เป็นไอร์ออน (II) ออกไซด์ ดังสมการ
2CuFeS2(s) + 3O2(g) -----> 2CuS(s) + 2FeO(s) + 2SO2(g)
แล้วนำผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปเผารวมกับออกไซด์ของซิลิกอนในเตาถลุงอุณหภูมิประมาณ 1100 องศาเซลเซียส เพื่อกำจัดไอร์ออน (II) ออกไซด์ออก ดังสมการ
FeO(s) + SiO2 (s) → FeSiO3(l)
ส่วนคอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์ เมื่ออยู่ในอุณหภูมิสูงจะสลายตัวได้เป็นคอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ ในสถานะของเหลวซึ่งสามารถแยกออกได้ และในขั้นสุดท้ายเมื่อแยกคอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ในอากาศ บางส่วนจะเปลี่ยนเป็นคอปเปอร์ (I) ออกไซด์ ดังสมการ
2Cu2S (s ) + 3O2(g) → 2Cu2O(s) + SO2(g)
และคอปเปอร์ (I) ออกไซด์กับคอปเปอร์ (I)ซัลไฟด์จะทำปฏิกิริยากันโดยมีซัลไฟด์ไอออนเป็นตัวรีดิวซ์ ดังสมการ
2Cu2O(s) + Cu2S (s ) → 6Cu(l) + SO2(g)
แต่ยังมีสิ่งเจือปนจึงต้องนำไปทำให้บริสุทธิ์ก่อน โดยทั่วไปจะใช้วิธีแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้า
การถลุงแร่
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ไหมครับมีเบอร์โทรติดต่อไหมครับ
ตอบลบ